เทคนิคการแก้ไขงานฉีดพลาสติก

เทคนิคการแก้ไขงานฉีดพลาสติก

เทคนิคการแก้ไขงานฉีดพลาสติก

เทคนิคการแก้ไขงานฉีดพลาสติก กลับมาพบกันอีกแล้วนะคะกับ Deemark และบทความนี้เราจะมาให้ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการแก้ไขปัญหางานของฉีดพลาสติก แอดมินเชื่อว่าทุกๆ ท่านต้องเคยเจอกับปัญหาในชิ้นงานฉีดพลาสติกอยู่บ่อยครั้ง หรือ ท่านผู้ประกอบการฉีดพลาสติกรายใหม่ท่านใดที่ต้องการทราบถึงสาเหตุและวิธีแก้ไขปัญญาในชิ้นงานฉีดพลาสติกของท่าน บทความนี้มีคำตอบให้ท่านแน่นอนค่ะ

Deemark รับฉีดพลาสติก ฉีดพลาสติก ฉีดพลาสติกจำนวนน้อย โรงงานฉีดพลาสติก

บทความที่เกี่ยวข้อง

ข้อบกพร่องที่พบเจอมากในชิ้นงานฉีดพลาสติก

  • รอยกระทุ้ง (Ejector marks)
  • รอยขีดข่วน (Scralches)

รอยประกายเงิน (Silver streaks)

วิธีการแก้ไข

  • ทำการอบเม็ดพลาสติก เพื่อไล่ความชื้นออกจากเม็ดพลาสติกก่อนการฉีดพลาสติกเพื่อทำการขึ้นรูป
  • เพิ่มแรงดันต้านทานการหมุนถอยหลังกลับของสกรูเพื่อลดปริมาณอากาศในพลาสติกเหลว
  • ลดปริมาณในการทำ Suck Back
  • ลดความเร็วและแรงดันในการฉีด
  • ลดแรงปิดแม่พิมพ์เพื่อช่วยให้ระบายอากาศออกได้ดีขึ้น
  • ตรวจสอบขนาดและตำหน่องของรูระบายอากาศว่ามีพียงพอหรือไม่

ชิ้นงานหดตัว (Shrinkage)

วิธีการแก้ไข

  • เพิ่มแรงดัน
  • เพิ่มอุณหภูมิในการฉีดพลาสติก
  • เพิ่มระยะเวลาในการเย็นตัวในแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  • ตรวจสอบตำแหน่งและขนาดของทางเข้าในตัวแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  • ตรวจสอบความหนืดของพลาสติกเหลว

ผิวย่นหรือลอก (Delamination)

วิธีการแก้ไข

ชิ้นงานบิดเบี้ยว (Warpage)

วิธีการแก้ไข

  • ตรวจสอบตำแหน่งและขนาดของช่องน้ำหล่อเย็นภายในแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  • ตรวจสอบขนาด ลักษณะและตำแหน่งของทางเข้าแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  • หลีกเลี่ยงการออกแบบชิ้นงานที่มีความหนามาก

เทคนิคพื้นฐานในการปรับแก้ไขชิ้นงานฉีดพลาสติก

การฉีดพลาสติก-คืออะไร

การบำรุงรักษาแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

สามารถแบ่งแม่พิมพ์สำหรับฉีดพลาสติกออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ

  1. กลุ่มที่เกิดการสึกหรอแบบปกติ เช่น สลัก คอร์ บูช
  2. กลุ่มที่เกิดการแตกหักแบบปกติ เช่น Pin , Ejector , Slide

ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความเสียหายแก่แม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

  1. การออกแบบโครงสร้างของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  2. วัสดุที่ใช้ทำแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  3. กระบวนการผลิตแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก เช่น การเจียระไน การอบชุบแข็ง การMachining เป็นต้น
  4. การใช้งานแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  5. การบำรุงรักษาแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

ตำแหน่งที่เกิดความเสียหายบ่อยในแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

บริเวณ Parting line ผิวหน้าแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกเกิดเป็นสนิม รอยขีดข่วนหรือรอยบุบ , ผิวของ Cavity หรือ Core เกิดการแตกร้าว , รูทางเข้า หรือ Gate เกิดการอุดตัน , การเคลื่อนตำแหน่งของ Insert , เข็มกระทุ้งเกิดการโค้งงอ หรือแตกหัก , ท่อน้ำเย็นเกิดการอุดตัน

ข้อเสนอแนะในการดูและรักษาแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

หมั่นสังเกตการณ์ทำงานในการฉีดพลาสติก ระบบท่อน้ำหล่อเย็น ว่าในการทำงานของระบบแต่ละครั้งว่าเกิดปัญหาหรือพบเจอความผิดปกติในกระบวนการทำงานหรือไม่ รวมถึงหมั่นทำความสะอาดผิวหน้าแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกและช่องระบายอากาศด้วยค่ะ

การเก็บรักษาแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก

  1. ใช้ผ้าสะอาดเช็ดถูแม่พิมพ์ให้ทั่วถึง
  2. พ่นสเปรย์ป้องกันสนิม ลงบนหน้าของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
  3. ปิดแม่พิมพ์พลาสติกด้วยแรงปิดที่ต่ำ
  4. เมื่อจะเริ่มใช้งานหรือทำการฉีดพลาสติก ให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดถูบริเวณด้านหน้าของแม่พิมพ์อย่างทั่วถึง
  5. ควรเก็บแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกไว้ในที่แห้ง เพื่อป้องกันการเกิดสนิม
  6. เก็บไว้ในที่ที่มีป้ายระบุอย่างชัดเจน

แอดมินก็ได้ทำการรวบรวมปัญหาที่เจอบ่อยในชิ้นการฉีดพลาสติก พร้อมทั้งวิธีการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นไว้ให้ทุกท่านได้ทำความเข้าใจถึงสาเหตุหลักๆ ของปัญหา หวังว่าทุกท่านจะสามารถนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่แอดมินนำมามอบให้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาได้จริงๆ นะคะ แล้วกับมาพบกันใหม่นำบทความต่อไปนะคะ

บริษัท ดีมาร์ค อุตสาหกรรม จำกัด เป็นผู้ให้บริการฉีดพลาสติกขึ้นรูปอย่างครบวงจร ด้วยประสบการณ์ในการทำงานด้านการฉีดพลาสติก ทั้งในประเทศไทยและส่งออกสู่ต่างประเทศมามากกว่า 30 ปี เราจึงสามารถผลิตผลงานการฉีดพลาสติกได้อย่างหลากหลาย และมีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากล โดยเราสามารถทำงานพรินติ้ง, ซิลค์สกรีน, โลโก้, แพ็คกิ้ง เป็นต้น เราผลิตพลาสติกได้ครบทุกรูปแบบ รวมไปถึงการออกแบบต้นแบบแม่พิมพ์พลาสติกและการผลิตชิ้นงานการฉีดพลาสติกแบบต่าง ๆ และด้วยประสิทธิภาพการฉีดพลาสติกของเรา จึงทำให้ลูกค้ามั่นใจได้ว่าจะได้รับงานฉีดพลาสติกที่มีคุณภาพและเกิดความพึงพอใจสูงสุดอย่างแน่นอน

…………………………………………………………….

สนใจติดต่อฉีดพลาสติก

DEEMARK INDUSTRY CO.,LTD

3/27 หมู่ 2 ซ.วัดศรีเรืองบุญ ถ.กาญจนาภิเษก

ต.ปลายบาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130

Phone: 02-985-1546, 081-844-8224Fax: 02-984-1538